Passive Voice คือ โครงสร้างประโยคที่ประธานเป็นผู้ถูกกระทำ ซึ่งกริยาหลักจะอยู่ในรูปของ กริยาช่วยbe + V3 มาดูกันครับว่าในแต่ละ Tense นั้น Passive Voice จะมีรูปแบบอย่างไรบ้าง
*เกร็ดเล็กเกร็ดน้อย
ประโยคที่ประธานเป็นผู้กระทำเรียกว่า Active Voice
ประโยคที่ประธานเป็นผู้ถูกกระทำเรียกว่า Passive Voice
*เพื่อความกระชับของเนื้อหาจะใช้ตัวอักษรแทนดังนี้ครับ
S = ประธาน
V = กริยา (V1=กริยาช่อง1, V2=กริยาช่อง2, V3=กริยาช่อง3)
O = กรรม
== Present Tense ==
Present Simple Tense
โครงสร้าง Active Voice : S + V1(s) +(O) *บางกรณีต้องเติม s ด้วย (ดูPresent Tenseแบบละเอียด)
ตัวอย่าง Monkey eat banana. (ลิงกินกล้วย)
โครงสร้าง Passive Voice : S + is/am/are + V3
ตัวอย่าง Banana is eaten by monkey. (กล้วยถูกลิงกิน)
Present Continuous Tense
โครงสร้าง Active Voice : S + is/am/are + V(ing) +(O)
ตัวอย่าง Monkey is eating banana. (ลิงกำลังกินกล้วย)
โครงสร้าง Passive Voice : S + is/am/are + being + V3
ตัวอย่าง Banana is being eaten by monkey. (กล้วยกำลังถูกลิงกิน)
Present Perfect Tense
โครงสร้าง Active Voice : S + have/has + V3 +(O)
ตัวอย่าง Monkey has eaten banana since morning. (ลิงกินกล้วยลูกนั้นตั้งแต่เช้าแล้ว)
โครงสร้าง Passive Voice : S + have/has + been+ V3
ตัวอย่าง Banana has been eaten by monkey since morning. (กล้วยลูกนั้นถูกลิงกินตั้งแต่เช้า)
Present Perfect Continuous Tense
โครงสร้าง Active Voice : S + have/has + been + V(ing) +(O)
ตัวอย่าง Monkey has been eating banana for an hour. (ลิงกินกล้วยลูกนั้นมาเป็นชั่วโมงแล้ว)
โครงสร้าง Passive Voice : S + have/has + been + being + V3
ตัวอย่าง Banana has been being eaten by monkey for an hour. (กล้วยลูกนั้นถูกลิงกินมาเป็นชั่วโมงแล้ว)
== Past Tense ==
Past Simple Tense
โครงสร้าง Active Voice : S + V2 +(O)
ตัวอย่าง Monkey ate banana yesterday. (เมื่อวานลิงกินกล้วย)
โครงสร้าง Passive Voice : S + was/were + V3
ตัวอย่าง Banana was eaten by monkey yesterday. (เมื่อวานกล้วยถูกลิงกิน)
Past Continuous Tense
โครงสร้าง Active Voice : S + was/were + V(ing) +(O)
ตัวอย่าง Monkey was eating banana yesterday. (เมื่อวานลิงกำลังกินกล้วย)
โครงสร้าง Passive Voice : S + was/were+ being + V3
ตัวอย่าง Banana was being eaten by monkey. (เมื่อวานกล้วยกำลังถูกลิงกิน)
Past Perfect Tense
โครงสร้าง Active Voice : S + had + V3 +(O)
ตัวอย่าง Monkey had eaten banana before I arrived. (ลิงกินกล้วยแล้วก่อนที่ฉันจะมาถึง)
โครงสร้าง Passive Voice : S + had+ been+ V3
ตัวอย่าง Banana had been eaten before I arrived. (กล้วยถูกลิงกินก่อนที่ฉันจะมาถึง)
Past Perfect Continuous Tense
โครงสร้าง Active Voice : S + had + been + V(ing) +(O)
ตัวอย่าง Monkey had been eating banana for an hour before I arrived. (ลิงกินกล้วยลูกนั้นมาเป็นชั่วโมงแล้วก่อนที่ฉันจะมาถึง)
โครงสร้าง Passive Voice : S + had + been + being + V3
ตัวอย่าง Banana had been being eaten by monkey for an hour before I arrived. (กล้วยลูกนั้นถูกลิงกินมาเป็นชั่วโมงแล้วก่อนที่ฉันจะมาถึง)
== Future Tense ==
Future Simple Tense
โครงสร้าง Active Voice : S +will/shall + V1 +(O)
ตัวอย่าง Monkey will eat banana. (ลิงจะกินกล้วย)
โครงสร้าง Passive Voice : S + will/shall + be + V3
ตัวอย่าง Banana will be eaten by monkey. (กล้วยจะถูกลิงกิน)
Future Continuous Tense
โครงสร้าง Active Voice : S + will/shall + be + V(ing) +(O)
ตัวอย่าง Monkey will be eating banana tomorrow. (พรุ่งนี้ลิงคงจะกำลังกินกล้วยอยู่)
โครงสร้าง Passive Voice : S + will/shall + be + being + V3
ตัวอย่าง Banana will be being eaten by monkey tomorrow. (พรุ่งนี้กล้วยคงจะกำลังถูกลิงกิน)
Future Perfect Tense
โครงสร้าง Active Voice : S + will/shall + have+ V3 +(O)
ตัวอย่าง Monkey will have eaten banana when I reach the zoo. (ลิงกินคงจะกินกล้วยแล้วตอนที่ฉันจะไปถึงสวนสัตว์)
โครงสร้าง Passive Voice : S + will/shall + have + been+ V3
ตัวอย่าง Banana will have been eaten by monkey when I reach the zoo. (กล้วยคงจะถูกลิงกินแล้วตอนที่ฉันไปถึงสวนสัตว์)
Future Perfect Continuous Tense
โครงสร้าง Active Voice : S + will/shall + have + been + V(ing) +(O)
ตัวอย่าง Monkey will have been eating banana for an hour before I reach the zoo. (ลิงคงจะกินกล้วยลูกนั้นมาเป็นชั่วโมงแล้วก่อนที่ฉันจะไปถึงสวนสัตว์)
โครงสร้าง Passive Voice : S + will/shall + have + been + being + V3
ตัวอย่าง Banana will have been being eaten by monkey for an hour before I reach the zoo. (กล้วยลูกนั้นคงจะถูกลิงกินมาเป็นชั่วโมงแล้วก่อนที่ฉันจะไปถึงสวนสัตว์)
ก่อนจบ
Passive Voice คือ ประธานเป็นผู้ถูกกระทำหรือประธานเป็นกรรมนั่นเอง บางคนอาจคิดว่า โอ้โห...Tense ในภาษาอังกฤษมี 12 แบบแล้วยังต้องมาท่อง Passive Voice อีก 12 แบบด้วยเหรอเนี่ย! ผมอยากบอกว่าจริงๆแล้วเราไม่ต้องท่องจำเลยครับแค่ทำความเข้าใจกับวิธีเปลี่ยนรูปกริยาจากประโยคแบบปกติ (Active Voice) ให้อยู่ในรูปของ Verb to be + V3 เท่านั้นเอง เดี๋ยวผมจะบอกทริคง่ายๆตามสไตล์ของผมเลยละกัน
*เป้าหมายคือการเปลี่ยนรูปจาก V ให้กลายเป็น Verb to be + V3
ตัวอย่าง เนื้อเรื่องหลักคือ Monkey eat banana.
Simple Tense จาก eat ----> is eaten
Continuous Tense จาก eating ----> being eaten
Perfect Tense จาก eaten ----> been eaten
Perfect Continuous จาก been eating ----> been being eaten
วันพฤหัสบดีที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2556
วันอังคารที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2556
Future Tense คือ
Future Tense
แปลว่า อนาคตกาล คือโครงสร้างของประโยคที่บ่งบอกถึงเวลาในอนาคต หรือสิ่งที่ยังไม่เกิดขึ้นในขณะที่พูด เช่นเดียวกันกับ Tense อื่นๆ Future Tense ก็ประกอบไปด้วย 4 สหายเช่นเดิมคือ พี่ซิม(Simple), พี่คอน(Continuous), พี่เพอ(Perfect) และพี่พอค(Perfect Continuous) โปรดเตรียมตัวให้พร้อมสำหรับบทความนี้ผมจะพาท่านผู้อ่านไปร่วมสร้างอนาคตด้วยกัน... ฮ่าๆๆๆ
*อ่านก่อนสร้างอนาคต
กรณีที่ 1: Will/Shall แปลว่า จะ
- Will ใช้กับประธานที่ถูกกล่าวถึง เช่น You, They, He, She, It
- Shall ใช้กับประธานที่ตัวเองเป็นคนพูด คือ I และ We
กรณีที่ 2 : เมื่อ Will/Shall สลับประธาน
- Will ถ้าใช้กับประธานที่ตัวเองเป็นคนพูด คือ I และ We จะให้ความหมายเชิงให้คำมั่น
สัญญาหรือสิ่งที่พูดมีโอกาสเป็นไปได้สูง เช่น
I will love you forever.
(ผมจะรักคุณตลอดไป)
I will go to school at six o’clock tomorrow.
(พรุ่งนี้ฉันจะไปโรงเรียนตอนหกโมงเช้า (ปกติไปเจ็ดโมง))
- Shall ถ้าใช้กับประธานที่ถูกกล่าวถึง เช่น You, They, He, She, It จะให้ความหมาย
เชิงคำสั่ง เช่น
You shall go out of my room.
(คุณควรจะออกไปจากห้องฉันได้แล้ว)
Future Simple Tense คือ อนาคตแบบธรรมดา
โครงสร้างประโยค
ประธาน + will/shall + กริยาช่องที่ 1 + (กรรม)
S + will/shall + V1 +(O)
ใช้กับเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต เช่น
I will go to play football tomorrow.
(พรุ่งนี้ฉันจะไปเตะบอล(ให้ได้))
I shall go to play football tomorrow.
(พรุ่งนี้ฉันจะไปเตะบอล)
He will go to play football tomorrow.
(พรุ่งนี้เขาจะไปเตะบอล)
He shall go to play football tomorrow.
(พรุ่งนี้เขาควรจะไปเตะบอล)
สามารถใช้ “to be going to” แทน will/shall ได้ดังนี้
เหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นอย่างแน่นอน เช่น
They are going to go to school tomorrow.
(พรุ่งนี้พวกเขาจะไปโรงเรียน(แน่นอน))
เหตุการณ์ที่ตั้งใจจะทำ เช่น
I am going to play football tomorrow.
(พรุ่งนี้ฉันจะไปเตะบอล)
เหตุการณ์ที่เป็นการคาดคะเน เช่น
I think it is going to rain.
(ผมคิดว่าฝนคงจะตกแน่ๆ)
Future Continuous Tense คือ อนาคตแบบกระทำอย่างต่อเนื่องในช่วงเวลาหนึ่งๆ
โครงสร้างประโยค
ประธาน + will/shall+ be + กริยาเติม ing + (กรรม)
S + will/shall + be + V(ing) +(O)
ใช้กับเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องในอนาคต เช่น
I will be working tomorrow.
(วันพรุ่งนี้ฉันจะทำงาน (เห็นภาพลอยมาว่ากำลังนั่งทำงานอยู่))
ใช้กับ2เหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องพร้อมๆกัน โดยใช้ร่วมกับ
Present Continuous Tense เช่น
She will be sleeping while he is watching TV tonight.
(คืนนี้เธอคงกำลังนอนหลับอยู่ขณะที่เขากำลังดูทีวี)
ใช้กับ2เหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องแต่ไม่พร้อมกัน โดยใช้ร่วมกับ
Present Simple Tense เช่น
I will be reading a book when my father arrives at home.
(ฉันจะอ่านหนังสือเมื่อคุณพ่อมาถึงบ้าน)
Future Perfect Tense คือ อนาคตที่เกิดก่อนอนาคต
โครงสร้างประโยค
ประธาน + will/shall+ have + กริยาช่อง3 + (กรรม)
S + will/shall + have + V3 +(O)
ใช้กับ2เหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นไม่พร้อมกัน โดย Future Perfect Tense เกิดก่อน,
Present Simple Tense เกิดทีหลัง เช่น
The movie will have started when we reach the theatre.
(หนังคงจะเริ่มฉายแล้วตอนที่เราไปถึง)
Future Perfect Continuous Tense คือ อนาคตที่กระทำอย่างต่อเนื่องก่อนอนาคตอีกเหตุการณ์หนึ่ง (คล้ายกับ Future Perfect Tense แต่ต่อเนื่อง)
โครงสร้างประโยค
ประธาน + will/shall + have been + กริยาเติม ing + (กรรม)
S + will/shall +have been + V(ing) +(O)
ใช้กับ2เหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นไม่พร้อมกัน โดย Future Perfect Continuous Tense
เกิดก่อนอย่างต่อเนื่อง, Present Simple Tense เกิดทีหลัง เช่น
He will have been cooking dinner for an hour when we reach his home.
(เขาคงจะกำลังทำกับข้าวซักชั่วโมงนึงแล้วตอนที่เราไปถึงบ้านของเขา)
ก่อนจบ
Feture Tense คือ อนาคตกาลเป็นเหตุการณ์ที่ยังไม่เกิดขึ้นและไม่แน่นอน นอกเหนือจากโครงสร้างทั้ง 4 รูปแบบแล้ว ขอสรุปเกร็ดเล็กๆน้อยๆ ที่แทรกอยู่ในเนื้อหาทั้ง 3 ข้อดังนี้ 11
1. ประธานคือผู้พูดใช้ Shall ถ้าประธานเป็นผู้ที่ถูกกล่าวถึงใช้ Will หากใช้สลับกันความหมายจะเปลี่ยน
2. สามารถใช้ be going to แทน will ได้ในบางกรณี 3.
3. Future Tense ไม่ว่าประธานจะเป็นเอกพจน์หรือพหูพจน์จะใช้ have เท่านั้นไม่ใช้ has
*อ่านก่อนสร้างอนาคต
กรณีที่ 1: Will/Shall แปลว่า จะ
- Will ใช้กับประธานที่ถูกกล่าวถึง เช่น You, They, He, She, It
- Shall ใช้กับประธานที่ตัวเองเป็นคนพูด คือ I และ We
กรณีที่ 2 : เมื่อ Will/Shall สลับประธาน
- Will ถ้าใช้กับประธานที่ตัวเองเป็นคนพูด คือ I และ We จะให้ความหมายเชิงให้คำมั่น
สัญญาหรือสิ่งที่พูดมีโอกาสเป็นไปได้สูง เช่น
I will love you forever.
(ผมจะรักคุณตลอดไป)
I will go to school at six o’clock tomorrow.
(พรุ่งนี้ฉันจะไปโรงเรียนตอนหกโมงเช้า (ปกติไปเจ็ดโมง))
- Shall ถ้าใช้กับประธานที่ถูกกล่าวถึง เช่น You, They, He, She, It จะให้ความหมาย
เชิงคำสั่ง เช่น
You shall go out of my room.
(คุณควรจะออกไปจากห้องฉันได้แล้ว)
Future Simple Tense คือ อนาคตแบบธรรมดา
โครงสร้างประโยค
ประธาน + will/shall + กริยาช่องที่ 1 + (กรรม)
S + will/shall + V1 +(O)
ใช้กับเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต เช่น
I will go to play football tomorrow.
(พรุ่งนี้ฉันจะไปเตะบอล(ให้ได้))
I shall go to play football tomorrow.
(พรุ่งนี้ฉันจะไปเตะบอล)
He will go to play football tomorrow.
(พรุ่งนี้เขาจะไปเตะบอล)
He shall go to play football tomorrow.
(พรุ่งนี้เขาควรจะไปเตะบอล)
สามารถใช้ “to be going to” แทน will/shall ได้ดังนี้
เหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นอย่างแน่นอน เช่น
They are going to go to school tomorrow.
(พรุ่งนี้พวกเขาจะไปโรงเรียน(แน่นอน))
เหตุการณ์ที่ตั้งใจจะทำ เช่น
I am going to play football tomorrow.
(พรุ่งนี้ฉันจะไปเตะบอล)
เหตุการณ์ที่เป็นการคาดคะเน เช่น
I think it is going to rain.
(ผมคิดว่าฝนคงจะตกแน่ๆ)
Future Continuous Tense คือ อนาคตแบบกระทำอย่างต่อเนื่องในช่วงเวลาหนึ่งๆ
โครงสร้างประโยค
ประธาน + will/shall+ be + กริยาเติม ing + (กรรม)
S + will/shall + be + V(ing) +(O)
ใช้กับเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องในอนาคต เช่น
I will be working tomorrow.
(วันพรุ่งนี้ฉันจะทำงาน (เห็นภาพลอยมาว่ากำลังนั่งทำงานอยู่))
ใช้กับ2เหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องพร้อมๆกัน โดยใช้ร่วมกับ
Present Continuous Tense เช่น
She will be sleeping while he is watching TV tonight.
(คืนนี้เธอคงกำลังนอนหลับอยู่ขณะที่เขากำลังดูทีวี)
ใช้กับ2เหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องแต่ไม่พร้อมกัน โดยใช้ร่วมกับ
Present Simple Tense เช่น
I will be reading a book when my father arrives at home.
(ฉันจะอ่านหนังสือเมื่อคุณพ่อมาถึงบ้าน)
Future Perfect Tense คือ อนาคตที่เกิดก่อนอนาคต
โครงสร้างประโยค
ประธาน + will/shall+ have + กริยาช่อง3 + (กรรม)
S + will/shall + have + V3 +(O)
ใช้กับ2เหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นไม่พร้อมกัน โดย Future Perfect Tense เกิดก่อน,
Present Simple Tense เกิดทีหลัง เช่น
The movie will have started when we reach the theatre.
(หนังคงจะเริ่มฉายแล้วตอนที่เราไปถึง)
Future Perfect Continuous Tense คือ อนาคตที่กระทำอย่างต่อเนื่องก่อนอนาคตอีกเหตุการณ์หนึ่ง (คล้ายกับ Future Perfect Tense แต่ต่อเนื่อง)
โครงสร้างประโยค
ประธาน + will/shall + have been + กริยาเติม ing + (กรรม)
S + will/shall +have been + V(ing) +(O)
ใช้กับ2เหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นไม่พร้อมกัน โดย Future Perfect Continuous Tense
เกิดก่อนอย่างต่อเนื่อง, Present Simple Tense เกิดทีหลัง เช่น
He will have been cooking dinner for an hour when we reach his home.
(เขาคงจะกำลังทำกับข้าวซักชั่วโมงนึงแล้วตอนที่เราไปถึงบ้านของเขา)
ก่อนจบ
Feture Tense คือ อนาคตกาลเป็นเหตุการณ์ที่ยังไม่เกิดขึ้นและไม่แน่นอน นอกเหนือจากโครงสร้างทั้ง 4 รูปแบบแล้ว ขอสรุปเกร็ดเล็กๆน้อยๆ ที่แทรกอยู่ในเนื้อหาทั้ง 3 ข้อดังนี้ 11
1. ประธานคือผู้พูดใช้ Shall ถ้าประธานเป็นผู้ที่ถูกกล่าวถึงใช้ Will หากใช้สลับกันความหมายจะเปลี่ยน
2. สามารถใช้ be going to แทน will ได้ในบางกรณี 3.
3. Future Tense ไม่ว่าประธานจะเป็นเอกพจน์หรือพหูพจน์จะใช้ have เท่านั้นไม่ใช้ has
Present Tense คือ
Present Tense
แปลกันโต้งๆก็หมายถึง ปัจจุบันกาล คือโครงสร้างของประโยคที่บ่งบอกถึงเวลาปัจจุบัน หรือสิ่งที่เป็นจริงเสมอ เพื่อความชัดเจนและได้อารมณ์ยิ่งขึ้นพี่หรั่งเค้าบอกว่าปัจจุบันอย่างเดียวมันกว้างไปต้องแบ่งย่อยให้ชัดเจนด้วยว่าเป็นปัจจุบันในลักษณะไหน ก็เลยเกิดประโยคที่ใช้บอกลักษณะต่างๆของช่วงเวลาปัจจุบันออกมาอีก 4 แบบดังนี้
Present Simple Tense คือ ปัจจุบันแบบธรรมดา
โครงสร้างประโยค
ประธานพหูพจน์ + กริยาช่องที่ 1 + (กรรม)
S + V1 +(O)
ประธานเอกพจน์บุรุษที่3 + กริยาช่อง1 เติม s + (กรรม)
S + V1(s) + (O)
ใช้กับเหตุการณ์ที่เป็นจริงเสมอ เช่น
The moon goes around the earth.
(ดวงจันทร์หมุนรอบโลก)
The sun rises in the east.
(พระอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันออก)
ใช้กับเหตุการณ์ที่ทำจนเป็นนิสัย และมักจะมีกลุ่มคำที่บอกว่ามันเกิดขึ้นบ่อยๆ เช่น
I wake up at five o’clock everyday.
(ฉันตื่นตีห้าทุกวัน)
She wakes up at five o’clock everyday.
(เธอตื่นตีห้าทุกวัน (สังเกตว่าเติม S ด้วยนะ))
ใช้กับเหตุการณ์ที่เป็นจริงขณะที่พูด เช่น
I am a handsome man.
(ผมหล่อ (อิอิ))
Present Continuous Tense คือ ปัจจุบันแบบกระทำอย่างต่อเนื่อง
โครงสร้างประโยค
ประธาน + is/am/are+ กริยาเติม ing + (กรรม)
S + is/am/are + V(ing) +(O)
ใช้กับเหตุการณ์ที่กำลังดำเนินอยู่ในขณะที่พูด เช่น
I am reading a book.
(ฉันกำลังอ่านหนังสือ)
They are singing.
(พวกเขากำลังร้องเพลง)
We are crying.
(พวกเรากำลังร้องไห้)
ใช้กับเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นแน่นอนในอนาคตอันใกล้ เช่น
He is going to Japan tonight.
(เขาจะไปญี่ปุ่นคืนนี้)
Present Perfect Tense คือ การกระทำที่เกิดก่อนปัจจุบัน
โครงสร้างประโยค
ประธาน + have,has + กริยาช่อง3 + (กรรม)
S + have,has + V3 +(O)
ใช้กับเหตุการณ์ที่เป็นประสบการณ์มักมีคำว่า since, for อยู่ด้วย เช่น
I have studied here for 7 years.
(ผมเรียนอยู่ที่นี่มา7ปีแล้ว (ปัจจุบันก็ยังเรียนอยู่))
She has lived here since 2000.
(เธออยู่ที่นี่มาตั้งแต่ปี 2000 (ตอนนี้ก็ยังอยู่))
ใช้กับเหตุการณ์ที่เพิ่งจบลง มักมีคำว่า already(เรียบร้อยแล้ว), just=(เพิ่งจะ),
yet(ยังไม่) เช่น
They have already arrived.
(พวกเขามาถึงเรียบร้อยแล้ว)
They have just arrived.
(พวกเขาเพิ่งจะมาถึง)
They haven’t arrived yet.
(พวกเขายังมาไม่ถึง)
ใช้กับเหตุการณ์ที่แสดงถึงสิ่งที่เคยหรือไม่เคย เช่น
A: Have you ever gone to Japan?
(คุณเคยไปญี่ปุ่นไหม?)
B: Yes, I have gone to Japan.
(ครับ, ผมเคยไปญี่ปุ่น)
No, I have never gone to Japan.
(ไม่ครับ, ผมไม่เคยไปญี่ปุ่น)
Present Perfect Continuous Tense คือ การกระทำแบบต่อเนื่องที่เกิดก่อนปัจจุบัน
โครงสร้างประโยค
ประธาน + have,has + been + กริยาเติม ing + (กรรม)
S + have,has + been + V(ing) +(O)
ใช้กับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีตจนถึงปัจจุบันก็กำลังทำอยู่ คล้ายกับ Present Continuous
Tense แต่จะเน้นความต่อเนื่องของการกระทำมากกว่า เช่น
He has been playing video games for 6 hours.
(เขาเล่นเกมส์มาเป็นเวลา6ชั่วโมงแล้ว(ตอนนี้ก็กำลังเล่นอยู่))
We have been playing video games since ten o’clock.
(พวกเราเล่นเกมมาตั้งแต่สิบโมงแล้ว(ตอนนี้ก็กำลังเล่นอยู่))
ก่อนจบ
เป็นยังไงบ้างครับกับ Present Tense เห็นมั้ยครับว่าเหตุการณ์ในเวลาปัจจุบันสามารถแบ่งรูปแบบการกระทำได้ถึง 4 แบบด้วยกัน คือ Simple(ธรรมดา), Continuous(ต่อเนื่อง), Perfect(ก่อนปัจจุบันจนถึงปัจจุบัน), Perfect Continuous(ก่อนปัจจุบันจนถึงปัจจุบันอย่างต่อเนื่อง) หากเราทำความเข้าใจและหยิบรูปแบบการกระทำที่เราต้องการจะสื่อได้อย่างถูกที่ถูกเวลา แค่นี้เราก็สามารถ speak ให้พี่หรั่งเข้าใจไม่ต้องใช้ภาษามืออีกแล้ว ฮ่าๆๆ....ขอบคุณทุกท่านที่ติดตามอ่านจนจบครับ (-/\-)
Present Simple Tense คือ ปัจจุบันแบบธรรมดา
โครงสร้างประโยค
ประธานพหูพจน์ + กริยาช่องที่ 1 + (กรรม)
S + V1 +(O)
ประธานเอกพจน์บุรุษที่3 + กริยาช่อง1 เติม s + (กรรม)
S + V1(s) + (O)
ใช้กับเหตุการณ์ที่เป็นจริงเสมอ เช่น
The moon goes around the earth.
(ดวงจันทร์หมุนรอบโลก)
The sun rises in the east.
(พระอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันออก)
ใช้กับเหตุการณ์ที่ทำจนเป็นนิสัย และมักจะมีกลุ่มคำที่บอกว่ามันเกิดขึ้นบ่อยๆ เช่น
I wake up at five o’clock everyday.
(ฉันตื่นตีห้าทุกวัน)
She wakes up at five o’clock everyday.
(เธอตื่นตีห้าทุกวัน (สังเกตว่าเติม S ด้วยนะ))
ใช้กับเหตุการณ์ที่เป็นจริงขณะที่พูด เช่น
I am a handsome man.
(ผมหล่อ (อิอิ))
Present Continuous Tense คือ ปัจจุบันแบบกระทำอย่างต่อเนื่อง
โครงสร้างประโยค
ประธาน + is/am/are+ กริยาเติม ing + (กรรม)
S + is/am/are + V(ing) +(O)
ใช้กับเหตุการณ์ที่กำลังดำเนินอยู่ในขณะที่พูด เช่น
I am reading a book.
(ฉันกำลังอ่านหนังสือ)
They are singing.
(พวกเขากำลังร้องเพลง)
We are crying.
(พวกเรากำลังร้องไห้)
ใช้กับเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นแน่นอนในอนาคตอันใกล้ เช่น
He is going to Japan tonight.
(เขาจะไปญี่ปุ่นคืนนี้)
Present Perfect Tense คือ การกระทำที่เกิดก่อนปัจจุบัน
โครงสร้างประโยค
ประธาน + have,has + กริยาช่อง3 + (กรรม)
S + have,has + V3 +(O)
ใช้กับเหตุการณ์ที่เป็นประสบการณ์มักมีคำว่า since, for อยู่ด้วย เช่น
I have studied here for 7 years.
(ผมเรียนอยู่ที่นี่มา7ปีแล้ว (ปัจจุบันก็ยังเรียนอยู่))
She has lived here since 2000.
(เธออยู่ที่นี่มาตั้งแต่ปี 2000 (ตอนนี้ก็ยังอยู่))
ใช้กับเหตุการณ์ที่เพิ่งจบลง มักมีคำว่า already(เรียบร้อยแล้ว), just=(เพิ่งจะ),
yet(ยังไม่) เช่น
They have already arrived.
(พวกเขามาถึงเรียบร้อยแล้ว)
They have just arrived.
(พวกเขาเพิ่งจะมาถึง)
They haven’t arrived yet.
(พวกเขายังมาไม่ถึง)
ใช้กับเหตุการณ์ที่แสดงถึงสิ่งที่เคยหรือไม่เคย เช่น
A: Have you ever gone to Japan?
(คุณเคยไปญี่ปุ่นไหม?)
B: Yes, I have gone to Japan.
(ครับ, ผมเคยไปญี่ปุ่น)
No, I have never gone to Japan.
(ไม่ครับ, ผมไม่เคยไปญี่ปุ่น)
Present Perfect Continuous Tense คือ การกระทำแบบต่อเนื่องที่เกิดก่อนปัจจุบัน
โครงสร้างประโยค
ประธาน + have,has + been + กริยาเติม ing + (กรรม)
S + have,has + been + V(ing) +(O)
ใช้กับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีตจนถึงปัจจุบันก็กำลังทำอยู่ คล้ายกับ Present Continuous
Tense แต่จะเน้นความต่อเนื่องของการกระทำมากกว่า เช่น
He has been playing video games for 6 hours.
(เขาเล่นเกมส์มาเป็นเวลา6ชั่วโมงแล้ว(ตอนนี้ก็กำลังเล่นอยู่))
We have been playing video games since ten o’clock.
(พวกเราเล่นเกมมาตั้งแต่สิบโมงแล้ว(ตอนนี้ก็กำลังเล่นอยู่))
ก่อนจบ
เป็นยังไงบ้างครับกับ Present Tense เห็นมั้ยครับว่าเหตุการณ์ในเวลาปัจจุบันสามารถแบ่งรูปแบบการกระทำได้ถึง 4 แบบด้วยกัน คือ Simple(ธรรมดา), Continuous(ต่อเนื่อง), Perfect(ก่อนปัจจุบันจนถึงปัจจุบัน), Perfect Continuous(ก่อนปัจจุบันจนถึงปัจจุบันอย่างต่อเนื่อง) หากเราทำความเข้าใจและหยิบรูปแบบการกระทำที่เราต้องการจะสื่อได้อย่างถูกที่ถูกเวลา แค่นี้เราก็สามารถ speak ให้พี่หรั่งเข้าใจไม่ต้องใช้ภาษามืออีกแล้ว ฮ่าๆๆ....ขอบคุณทุกท่านที่ติดตามอ่านจนจบครับ (-/\-)
Past Tense คือ
Past Tense แปลว่า อดีตกาล คือโครงสร้างประโยคที่แสดงถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีต เพื่อความชัดเจนเราต้องเข้าใจก่อนว่าอดีตหมายถึงสิ่งที่เกิดขึ้นและจบลงไปแล้ว โครงสร้างประโยค Past Tense จะคล้ายๆกับ Present Tense แต่ต่างกันตรงรูปของกริยาเพราะในภาษาอังกฤษการบอกถึงเหตุการณ์ในอดีตจะใช้วิธีการเปลี่ยนรูปกริยาซึ่งแตกต่างกับภาษาไทยที่ใช้กริยาเหมือนเดิมแต่อาศัยคำขยายเป็นตัวบอกแทน อดีตมีเหตุการณ์หลายลักษณะซึ่งแบ่งออกเป็น 4 รูปแบบ ดังนี้
Past Simple Tense คือ อดีตแบบธรรมดา
โครงสร้างประโยค
ประธาน + กริยาช่อง2 + (กรรม)
S + V2 + (O)
ใช้กับเหตุการณ์ที่จบลงแล้วในอดีต เช่น
She went to the market yesterday.
(เมื่อวานเธอไปตลาด)
We saw UFO last night.
(เมื่อคืนพวกเราเห็น UFO)
Past Continuous Tense คือ อดีตที่กระทำอย่างต่อเนื่อง
โครงสร้างประโยค
ประธาน + was/were + กริยาเติม ing+ (กรรม)
S + was/were + V(ing) + (O)
ใช้กับเหตุการณ์ที่กำลังเกิดขึ้นในอดีต โดยมี Past Simple Tense เป็นตัวบอกเวลา เช่น
I was watching TV when my mother slept.
(ฉันกำลังดูทีวีเมื่อตอนที่แม่หลับ)
ใช้กับเหตุการณ์ที่กำลังเกิดขึ้นในอดีต แล้วมี Past Simple Tense มาขัดจังหวะ เช่น
The phone rang while I was reading a book.
(เสียงโทรศัพท์ดังขึ้นตอนที่ฉันกำลังอ่านหนังสือ)
ใช้กับเหตุการณ์ที่กำลังเกิดขึ้นพร้อมกันในอดีต เช่น
She was dancing while I was sleeping.
(เธอกำลังเต้นขณะที่ฉันกำลังหลับ)
Past Perfect Tense คือ อดีตที่เกิดก่อนอดีต
โครงสร้างประโยค
ประธาน + had + กริยาช่อง3 + (กรรม)
S + had + V3 + (O)
ใช้กับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นและจบลงแล้วก่อน Past Simple Tense เช่น
I had eaten a banana before I went to bed.
(ฉันกินกล้วยก่อนเข้านอน)
I went to bed after I had eaten a banana.
(ฉันเข้านอนหลังจากที่กินกล้วยเสร็จ)
Past Perfect Continuous Tense คือ อดีตที่กระทำอย่างต่อเนื่องก่อนอดีต
โครงสร้างประโยค
ประธาน + had been + กริยาเติม ing + (กรรม)
S + had been + V(ing) + (O)
ใช้กับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องจนถึงอดีต เช่น
I had been waiting for 4 minutes before my friend arrived.
(ฉันนั่งรอนาน4นาทีก่อนที่เพื่อนจะมาถึง)
ก่อนจบ
สิ่งที่เกิดขึ้นและจบลงไปแล้วเหตุการณ์เหล่านี้คือ Past Tense ถ้าใครเคยอ่านนิยายภาษาอังกฤษจะเห็นว่าประโยคส่วนใหญ่เป็น Past Tense เพราะเป็นการบอกเล่าเรื่องที่เกิดขึ้นแล้วนั่นเอง ในภาษาอังกฤษกริยาคือสิ่งสำคัญในการบอกเล่าเหตุการณ์ในแต่ละช่วงเวลาดังนั้นเราควรจะเข้าใจการผันรูปของกริยาหรือที่เรียกว่า “กริยา3ช่อง” ด้วยนะครับ
Past Simple Tense คือ อดีตแบบธรรมดา
โครงสร้างประโยค
ประธาน + กริยาช่อง2 + (กรรม)
S + V2 + (O)
ใช้กับเหตุการณ์ที่จบลงแล้วในอดีต เช่น
She went to the market yesterday.
(เมื่อวานเธอไปตลาด)
We saw UFO last night.
(เมื่อคืนพวกเราเห็น UFO)
Past Continuous Tense คือ อดีตที่กระทำอย่างต่อเนื่อง
โครงสร้างประโยค
ประธาน + was/were + กริยาเติม ing+ (กรรม)
S + was/were + V(ing) + (O)
ใช้กับเหตุการณ์ที่กำลังเกิดขึ้นในอดีต โดยมี Past Simple Tense เป็นตัวบอกเวลา เช่น
I was watching TV when my mother slept.
(ฉันกำลังดูทีวีเมื่อตอนที่แม่หลับ)
ใช้กับเหตุการณ์ที่กำลังเกิดขึ้นในอดีต แล้วมี Past Simple Tense มาขัดจังหวะ เช่น
The phone rang while I was reading a book.
(เสียงโทรศัพท์ดังขึ้นตอนที่ฉันกำลังอ่านหนังสือ)
ใช้กับเหตุการณ์ที่กำลังเกิดขึ้นพร้อมกันในอดีต เช่น
She was dancing while I was sleeping.
(เธอกำลังเต้นขณะที่ฉันกำลังหลับ)
Past Perfect Tense คือ อดีตที่เกิดก่อนอดีต
โครงสร้างประโยค
ประธาน + had + กริยาช่อง3 + (กรรม)
S + had + V3 + (O)
ใช้กับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นและจบลงแล้วก่อน Past Simple Tense เช่น
I had eaten a banana before I went to bed.
(ฉันกินกล้วยก่อนเข้านอน)
I went to bed after I had eaten a banana.
(ฉันเข้านอนหลังจากที่กินกล้วยเสร็จ)
Past Perfect Continuous Tense คือ อดีตที่กระทำอย่างต่อเนื่องก่อนอดีต
โครงสร้างประโยค
ประธาน + had been + กริยาเติม ing + (กรรม)
S + had been + V(ing) + (O)
ใช้กับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องจนถึงอดีต เช่น
I had been waiting for 4 minutes before my friend arrived.
(ฉันนั่งรอนาน4นาทีก่อนที่เพื่อนจะมาถึง)
ก่อนจบ
สิ่งที่เกิดขึ้นและจบลงไปแล้วเหตุการณ์เหล่านี้คือ Past Tense ถ้าใครเคยอ่านนิยายภาษาอังกฤษจะเห็นว่าประโยคส่วนใหญ่เป็น Past Tense เพราะเป็นการบอกเล่าเรื่องที่เกิดขึ้นแล้วนั่นเอง ในภาษาอังกฤษกริยาคือสิ่งสำคัญในการบอกเล่าเหตุการณ์ในแต่ละช่วงเวลาดังนั้นเราควรจะเข้าใจการผันรูปของกริยาหรือที่เรียกว่า “กริยา3ช่อง” ด้วยนะครับ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)